แรงชีวิต แรงบันดาลใจ : ‘โอโตทาเกะ ฮิโรทาดะ’ ผู้เกิดมา ‘ไม่ครบห้า’
คำว่า ‘ไม่ครบห้า’ เป็นสำนวนญี่ปุ่น หมายถึง ‘ไม่สมประกอบ’ หรือ
‘อาการไม่ครบ 32’ ของบ้านเรา โดยเลข 5 ที่ว่านี้ ก็มาจากหัว 1
แขน 2 และขา 2
‘อาการไม่ครบ 32’ ของบ้านเรา โดยเลข 5 ที่ว่านี้ ก็มาจากหัว 1
แขน 2 และขา 2
โอโตทาเกะ ฮิโรทาดะ คือบุคคลที่ไม่ครบห้า ตัวจริงเสียงจริง
เนื่องจากชายหนุ่มผู้นี้มีเพียง 1 ใน 5 เท่านั้นเพราะเขามีเพียงส่วน
แรกอย่าง ‘หัว’ ส่วนแขนกับขานั้น ‘กุดหมด’ จะหลงเหลือก็เพียง
แต่ก้อนเนื้อที่มีรูปร่างเหมือนมันฝรั่งยาวราว 10 เซนติเมตร งอก
ออกจากไหล่และสะโพก
เนื่องจากชายหนุ่มผู้นี้มีเพียง 1 ใน 5 เท่านั้นเพราะเขามีเพียงส่วน
แรกอย่าง ‘หัว’ ส่วนแขนกับขานั้น ‘กุดหมด’ จะหลงเหลือก็เพียง
แต่ก้อนเนื้อที่มีรูปร่างเหมือนมันฝรั่งยาวราว 10 เซนติเมตร งอก
ออกจากไหล่และสะโพก
แต่ถึงจะต้องเผชิญกับความพิการสมบูรณ์แบบ ฮิโรทาดะกลับประ
กาศตัวชัดเจนว่า ‘ผมเกิดมาพิการ แต่ผมก็มีความสุขสนุกทุกวัน’
เพราะตลอดชีวิต ฮิโรทาดะแทบไม่เคยรู้สึกว่าความพิการนั้นเป็น
ปมด้อยเลย อย่างสมัยตอนที่เข้าอนุบาลที่เขารำลึกความทรงจำ
ถึงเพื่อนๆ ผ่านหนังสือเรื่อง ‘ไม่ครบห้า’
กาศตัวชัดเจนว่า ‘ผมเกิดมาพิการ แต่ผมก็มีความสุขสนุกทุกวัน’
เพราะตลอดชีวิต ฮิโรทาดะแทบไม่เคยรู้สึกว่าความพิการนั้นเป็น
ปมด้อยเลย อย่างสมัยตอนที่เข้าอนุบาลที่เขารำลึกความทรงจำ
ถึงเพื่อนๆ ผ่านหนังสือเรื่อง ‘ไม่ครบห้า’
“เมื่อเห็นผมทีไร ทุกคนจะเข้ามาตอมเหมือนมด บางคนแตะแขน
ขาของผมดูแล้วระดมคำถามไม่หยุดว่า ‘ทำไม?’ ผมก็จะอธิบาย
ว่า ‘ผมไม่สบายในท้องแม่ก็เลยไม่มีแขนไม่มีขา’ เด็กๆ ก็จะพูดว่า
‘เหรอ’ แล้วยอมรับเป็นเพื่อนด้วยกัน”
ขาของผมดูแล้วระดมคำถามไม่หยุดว่า ‘ทำไม?’ ผมก็จะอธิบาย
ว่า ‘ผมไม่สบายในท้องแม่ก็เลยไม่มีแขนไม่มีขา’ เด็กๆ ก็จะพูดว่า
‘เหรอ’ แล้วยอมรับเป็นเพื่อนด้วยกัน”
หรือตอนที่บรรดาครูบาอาจารย์กำลังตัดสินชะตากรรมของเขาว่า
มีศักยภาพที่จะเรียนหนังสือได้หรือไม่ แต่ฮิโรทาดะก็ได้พิสูจน์ให้
ทุกคนได้เห็นว่า เขามีความสามารถไม่แพ้คนทั่วไปเลย จนสุด
ท้ายบรรดาคณาจารย์ ก็ตัดสินใจรับเด็กน้อย (ในขณะนั้น) เข้าศึก
ษาด้วยมติเอกฉันท์
มีศักยภาพที่จะเรียนหนังสือได้หรือไม่ แต่ฮิโรทาดะก็ได้พิสูจน์ให้
ทุกคนได้เห็นว่า เขามีความสามารถไม่แพ้คนทั่วไปเลย จนสุด
ท้ายบรรดาคณาจารย์ ก็ตัดสินใจรับเด็กน้อย (ในขณะนั้น) เข้าศึก
ษาด้วยมติเอกฉันท์
“ผมเอาดินหนีบไว้ระหว่างแก้มกับแขนสั้นๆ แล้วเขียนอักษรให้ดู
เอาและส้อมไว้ริมจาน แล้วตักอาหารกินโดยใช้กฎของแรงงัด ใช้
ปากคาบกรรไกรไว้ข้างหนึ่ง แล้วใช้แขนกดอีกข้างไว้ พร้อมกับ
ขยับใบหน้าเพื่อตัดกระดาษ และแสดงท่าเดินด้วยขาสั้นๆ โดย
ร่างของผมยังอยู่ในรูปตัว L เหมือนเดิม”
เอาและส้อมไว้ริมจาน แล้วตักอาหารกินโดยใช้กฎของแรงงัด ใช้
ปากคาบกรรไกรไว้ข้างหนึ่ง แล้วใช้แขนกดอีกข้างไว้ พร้อมกับ
ขยับใบหน้าเพื่อตัดกระดาษ และแสดงท่าเดินด้วยขาสั้นๆ โดย
ร่างของผมยังอยู่ในรูปตัว L เหมือนเดิม”
การเข้าเรียนของฮิโรทาดะ แม้จะดูเป็นเรื่องที่หนักหน่วงเอาการ
แต่เขาก็โชคดีที่ได้ครูประจำชั้นอย่าง ‘ทาคางิ’ ครูอาวุโสที่มีประ
สบการณ์การสอนมาแล้วอย่างโชกโชน คอยเป็นกำลังใจในการ
ฝ่าฟันอุปสรรค ครูทาคางิพยายามตั้งโจทย์ให้เด็กน้อยและเพื่อนๆ
ของเขาว่า ‘ห้ามช่วยเหลือ’ เพื่อให้ฮิโรทาดะพยายามช่วยเหลือ
ตัวเองมากที่สุด จนถึงการสั่งห้ามใช้ ‘เก้าอี้ล้อไฟฟ้า’ ซึ่งเป็นอุป
กรณ์ที่ช่วยให้ฮิโรทาดะเคลื่อนไหว
แต่เขาก็โชคดีที่ได้ครูประจำชั้นอย่าง ‘ทาคางิ’ ครูอาวุโสที่มีประ
สบการณ์การสอนมาแล้วอย่างโชกโชน คอยเป็นกำลังใจในการ
ฝ่าฟันอุปสรรค ครูทาคางิพยายามตั้งโจทย์ให้เด็กน้อยและเพื่อนๆ
ของเขาว่า ‘ห้ามช่วยเหลือ’ เพื่อให้ฮิโรทาดะพยายามช่วยเหลือ
ตัวเองมากที่สุด จนถึงการสั่งห้ามใช้ ‘เก้าอี้ล้อไฟฟ้า’ ซึ่งเป็นอุป
กรณ์ที่ช่วยให้ฮิโรทาดะเคลื่อนไหว
“อยากจะเอ็นดูตอนนี้สักเท่าไหร่ก็ทำได้ แต่วันหนึ่งเด็กน้อยคนนี้
จะต้องเผชิญชีวิตเพียงลำพัง หน้าที่ของครูคือ จะต้องคิดว่าจำ
เป็นต้องทำอะไรให้กับเด็กในปัจจุบัน เพื่ออนาคตในวันข้างหน้า
ของเขา”
คุณปู่ทาคางิกล่าวแม้จะเจอเสียงต่อต้านจากคนรอบข้างก็ตาม
จะต้องเผชิญชีวิตเพียงลำพัง หน้าที่ของครูคือ จะต้องคิดว่าจำ
เป็นต้องทำอะไรให้กับเด็กในปัจจุบัน เพื่ออนาคตในวันข้างหน้า
ของเขา”
คุณปู่ทาคางิกล่าวแม้จะเจอเสียงต่อต้านจากคนรอบข้างก็ตาม
ดูเหมือนการตัดสินใจของคุณครูจะเป็นเรื่องที่ถูก เพราะเมื่อฮิโร
ทาดะกลับมาย้อนมองตัวเองอีกครั้ง เขาบอกว่า หากใช้เก้าอี้ล้อ
ต่อไป เขาคงเป็นคนพิการที่ไม่สามารถแยกตัวเองออกจากเก้าอี้
ได้อีกเลยตลอดชีวิต และความเข้มงวดของครูแท้จริงคือความ
เมตตาปราณีอันเปี่ยมล้น ที่ทำให้เขามีพลังก้าวมาจนถึงทุกวันนี้
จึงไม่ใช่แปลกเลยที่ชีวิตหลังจากนั้นของเขา ฮิโรทาดะได้ผ่าน
เรื่องราวและประสบการณ์ที่ใครหลายคนไม่คาดคิด ไม่ว่าจะเป็น
การเป็นนักกีฬา ซึ่งเขาเข้าแข่งทั้งวิ่ง 100 เมตร อเมริกันฟุตบอล
ว่ายน้ำ การฝึกใช้คอมพิวเตอร์ในการพิมพ์งานเอกสารต่างๆ หรือ
แม้แต่ความสามารถในการจำอักษร คันจิ ซึ่งเป็นการเรียนสุดหิน
วิชาหนึ่งในญี่ปุ่นเลยก็ได้ แต่เขาก็มักจะคว้าแชมป์เวลาแข่งกัน
ท่อง แข่งกันเขียนเสมอๆ
ทาดะกลับมาย้อนมองตัวเองอีกครั้ง เขาบอกว่า หากใช้เก้าอี้ล้อ
ต่อไป เขาคงเป็นคนพิการที่ไม่สามารถแยกตัวเองออกจากเก้าอี้
ได้อีกเลยตลอดชีวิต และความเข้มงวดของครูแท้จริงคือความ
เมตตาปราณีอันเปี่ยมล้น ที่ทำให้เขามีพลังก้าวมาจนถึงทุกวันนี้
จึงไม่ใช่แปลกเลยที่ชีวิตหลังจากนั้นของเขา ฮิโรทาดะได้ผ่าน
เรื่องราวและประสบการณ์ที่ใครหลายคนไม่คาดคิด ไม่ว่าจะเป็น
การเป็นนักกีฬา ซึ่งเขาเข้าแข่งทั้งวิ่ง 100 เมตร อเมริกันฟุตบอล
ว่ายน้ำ การฝึกใช้คอมพิวเตอร์ในการพิมพ์งานเอกสารต่างๆ หรือ
แม้แต่ความสามารถในการจำอักษร คันจิ ซึ่งเป็นการเรียนสุดหิน
วิชาหนึ่งในญี่ปุ่นเลยก็ได้ แต่เขาก็มักจะคว้าแชมป์เวลาแข่งกัน
ท่อง แข่งกันเขียนเสมอๆ
แต่ที่เรียกว่าพิเศษสุดๆ ที่ฮิโรทาดะได้ทำก็คือ การเปลี่ยนบรรยา
กาศภายในห้องเรียน ให้กลายเป็นพื้นที่ของความเมตตากรุณา
และสร้างความมีน้ำใจให้เกิดขึ้นแก่เพื่อนทุกคนที่ใกล้ชิดเขา ซึ่ง
เรื่องนี้คุณครูโอกะ ครูประจำชั้น (ยุคต่อมา) เคยเล่าว่า
“เพราะห้องเรามีฮิโร เวลามีใครเดือดร้อน เราก็ช่วยกันโดยธรรม
ชาติ เป็นห้องที่มีความเมตตาดีจริงๆ”
กาศภายในห้องเรียน ให้กลายเป็นพื้นที่ของความเมตตากรุณา
และสร้างความมีน้ำใจให้เกิดขึ้นแก่เพื่อนทุกคนที่ใกล้ชิดเขา ซึ่ง
เรื่องนี้คุณครูโอกะ ครูประจำชั้น (ยุคต่อมา) เคยเล่าว่า
“เพราะห้องเรามีฮิโร เวลามีใครเดือดร้อน เราก็ช่วยกันโดยธรรม
ชาติ เป็นห้องที่มีความเมตตาดีจริงๆ”
ไม่เพียงแค่นั้น เขายังพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็น
ช่วงเข้ามัธยม ที่แม้จะชีวิตจะลองผิดลองถูกไปบ้างตามธรรมดา
ของเด็กวัยรุ่นที่อยากทดลองสิ่งต่างๆ แต่ก็ไม่หลงไปกับความ
เมามันนั้น และสามารถดึงชีวิตตัวเองกลับมาจนประสบความสำ
เร็จเมื่อตอนเข้ามหาวิทยาลัย
ช่วงเข้ามัธยม ที่แม้จะชีวิตจะลองผิดลองถูกไปบ้างตามธรรมดา
ของเด็กวัยรุ่นที่อยากทดลองสิ่งต่างๆ แต่ก็ไม่หลงไปกับความ
เมามันนั้น และสามารถดึงชีวิตตัวเองกลับมาจนประสบความสำ
เร็จเมื่อตอนเข้ามหาวิทยาลัย
ที่นี่เขาได้ทำกิจกรรมที่หลากหลายและเริ่มรู้ว่าความต้องการของ
ตัวเองคืออะไร อย่างครั้งหนึ่งเขาได้เป็นแกนนำในการปลุกระดม
ความคิดของเพื่อนๆ ให้ช่วยกันสร้าง ‘ชุมชนที่ปลอดสิ่งกีดขวาง’
เพราะเขาเห็นอุปสรรคต่างๆ ของคนพิการและคนชรา ในการดำ
เนินชีวิตท่ามกลางเมือง ที่ไม่ได้สนใจเรื่อง Universal Design
เขายื่นข้อเรียกร้องของตัวเองไปยังรองอธิการบดีของมหาวิทยา
ลัยที่เขาเรียนรู้ เพื่อให้รู้ว่านี่เป็นเรื่องจำเป็นและเร่งด่วน เขากล่าว
อย่างอารมณ์ดีตอนสนทนากับผู้ใหญ่ว่า
ตัวเองคืออะไร อย่างครั้งหนึ่งเขาได้เป็นแกนนำในการปลุกระดม
ความคิดของเพื่อนๆ ให้ช่วยกันสร้าง ‘ชุมชนที่ปลอดสิ่งกีดขวาง’
เพราะเขาเห็นอุปสรรคต่างๆ ของคนพิการและคนชรา ในการดำ
เนินชีวิตท่ามกลางเมือง ที่ไม่ได้สนใจเรื่อง Universal Design
เขายื่นข้อเรียกร้องของตัวเองไปยังรองอธิการบดีของมหาวิทยา
ลัยที่เขาเรียนรู้ เพื่อให้รู้ว่านี่เป็นเรื่องจำเป็นและเร่งด่วน เขากล่าว
อย่างอารมณ์ดีตอนสนทนากับผู้ใหญ่ว่า
“เพื่อนผมเตือนว่า ถ้ามหาวิทยาลัยมีอุปกรณ์พร้อม นายก็จำเป็น
ต้องเข้าเรียนนะซี่”
ขณะที่รองอธิการบดีก็ยิงมุกกลับไว้
“เราจะพิจารณาเรื่องนี้ เพื่อไม่ให้โอโตทาเกะคุงมีข้ออ้างในการ
ไม่มาเรียน”
ซึ่งในที่สุดก็นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงของมหาวิทยาลัยในทิศทาง
ที่ดีขึ้น
ต้องเข้าเรียนนะซี่”
ขณะที่รองอธิการบดีก็ยิงมุกกลับไว้
“เราจะพิจารณาเรื่องนี้ เพื่อไม่ให้โอโตทาเกะคุงมีข้ออ้างในการ
ไม่มาเรียน”
ซึ่งในที่สุดก็นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงของมหาวิทยาลัยในทิศทาง
ที่ดีขึ้น
แม้สายตาของคนภายนอกจะมองว่าชีวิตของชายผู้นี้เต็มไปด้วย
ความขาดแคลน โดยเฉพาะขาดแคลนอวัยวะ แต่ในความจริง
แล้ว ฮิโรทาดะมีสิ่งหนึ่ง ที่คนที่มีร่างกายสมบูรณ์หลายคนไม่มี
นั่นคือการมองโลกในแง่ดี เพราะสิ่งที่สำคัญที่สุดของมนุษย์ไม่
ใช่ร่างกายหรือทรัพย์สมบัติที่พรั่งพร้อม หากแต่เป็นจิตใจที่สม
บูรณ์และพร้อมที่ผลักดันตัวเองไปสู่เส้นทางที่ต้องการ
ความขาดแคลน โดยเฉพาะขาดแคลนอวัยวะ แต่ในความจริง
แล้ว ฮิโรทาดะมีสิ่งหนึ่ง ที่คนที่มีร่างกายสมบูรณ์หลายคนไม่มี
นั่นคือการมองโลกในแง่ดี เพราะสิ่งที่สำคัญที่สุดของมนุษย์ไม่
ใช่ร่างกายหรือทรัพย์สมบัติที่พรั่งพร้อม หากแต่เป็นจิตใจที่สม
บูรณ์และพร้อมที่ผลักดันตัวเองไปสู่เส้นทางที่ต้องการ
เรื่อง : เด็กฝึกงานมือวางอันดับ 0
เรียบเรียงจากหนังสือ 10 ชีวิต 10 แรงบันดาลใจ
โดยนายแพทย์วิชัย โชควิวัฒน
บทความคุณภาพจากเพจ "เรื่องดีๆมีข้อคิด"
เรียบเรียงจากหนังสือ 10 ชีวิต 10 แรงบันดาลใจ
โดยนายแพทย์วิชัย โชควิวัฒน
บทความคุณภาพจากเพจ "เรื่องดีๆมีข้อคิด"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น